บทความ
กำลังแสดงโพสต์จาก กุมภาพันธ์, 2022
บทความต่างประเทศฐานข้อมูล ERIC
- รับลิงก์
- X
- อีเมล
- แอปอื่นๆ
เรื่องที่ 1 Fostering Digital Education among Teachers and Learners in Sri Lankan Schools Abstract The Commonwealth Digital Education Leadership Training in Action (C-DELTA) programmer provides a framework for fostering digital education for lifelong learning by developing digital education leaders. The Faculty of Education at the Open University of Sri Lanka implemented an action research project to promote the adoption of C-DELTA among teachers and students of secondary schools in Sri Lanka, and evaluate its impact on the teaching-learning process. A group of 41 teachers participated in the intervention and implemented C-DELTA in their schools. A variety of data were collected throughout the process via questionnaires, concept maps, focus group interviews, implementation reports, and log records in the C-DELTA platform. Findings revealed that despite challenges, such as inadequate ICT facilities, time constraints and limitation in English language competencies, the adoption of C-DEL
The impact of digital leadership on teachers’ technology integration during the COVID-19 pandemic in Kuwait
- รับลิงก์
- X
- อีเมล
- แอปอื่นๆ
Abstract When the education system was overwhelmed by the COVID-19 pandemic, school principals had to take on the mantle of digital literacy by ensuring that teachers and learners attained and utilized digital tools and platforms. This study aims to explore the impact of digital leadership among school principals on teach ers’ technology integration during the COVID -19 pandemic in Kuwait. This quantitative study used two surveys, the Principal Technology Leadership Assessment, and the Teacher Technology Integration Survey. The sample consisted of 113 school principals and 404 teachers from public elementary schools in Kuwait. The study revealed that digital leadership among school principals had a positive impact on teachers’ technology integration during the COVID-19 pandemic. Discussion and implications for policymakers, The impact of digital leadership on teachers’ technology integration during the COVID-19 pandemic in Kuwait school principals, and future research ar
ภาวะผู้นำทางเทคโนโลยีและนวัตกรรมของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสุโขทัย เขต 2
- รับลิงก์
- X
- อีเมล
- แอปอื่นๆ
ภาวะผู้นำทางเทคโนโลยีและนวัตกรรมของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสุโขทัย เขต 2 ชัยนาม บุญนิตย์ (2563).ภาวะผู้นำทางเทคโนโลยีและนวัตกรรมของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสุโขทัย เขต 2.วารสารการบริหารนิติบุคคลและนวัตกรรมท้องถิ่น ปีที่ 6 ฉบับที่ 4,หน้า 137 – 149. บทคัดย่อ (Abstract) การวิจัยในครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาสภาพปัจจุบัน องค์ประกอบ และเปรียบเทียบภาวะผู้นำทางเทคโนโลยีและนวัตกรรมของผู้บริหารสถานศึกษาสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสุโขทัยเขต 2 จำแนกขนาดโรงเรียนตามการรับรู้ของครูและผู้บริหาร เครื่องมือที่ใช้คือ แบบสอบถามมาตราส่วนประมาณค่า (Rating Scale) 5 ระดับ ประชากรของการวิจัยคือผู้บริหารสถานศึกษาและครู จำนวน 162 โรงเรียน จำนวน 1,375 คน โดยผู้วิจัยศึกษากลุ่มตัวอย่างจำนวน 408 คน โดยแบ่งเป็นกลุ่มตัวอย่างที่ 1 คือผู้บริหารสถานศึกษาจำนวน 116 คน ได้จากการสุ่มโดยใช้วิธีการสุ่มอย่างง่าย และกลุ่มตัวอย่างที่ 2 เป็นครู จำนวน 292 คน ได้จากการสุ่มโดยใช้วิธีสุ่มแบบแบ่งชั้น การวิเคราะห์ข้อมูลและสถิติ
ภาวะผู้นำทางเทคโนโลยีของผู้บริหารสถานศึกษา ตามทัศนะของครู สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษายะลา เขต 1
- รับลิงก์
- X
- อีเมล
- แอปอื่นๆ
ภาวะผู้นำทางเทคโนโลยีของผู้บริหารสถานศึกษา ตามทัศนะของครู สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษายะลา เขต 1 นิสา แป้นเชียร และ เอกรินทร์ สังข์ทอง (2564).ภาวะผู้นำทางเทคโนโลยีของผู้บริหารสถานศึกษา ตามทัศนะของครู สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษายะลา เขต 1.วารสารศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยทักษิณ ปีที่ 21 ฉบับที่ 1 เดือน มกราคม-มิถุนายน 2564, หน้า 135 – 151. บทคัดย่อ การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาระดับภาวะผู้นำทางเทคโนโลยีและเปรียบเทียบภาวะผู้นำทาง เทคโนโลยีของผู้บริหารสถานศึกษาตามทัศนะ ของครู สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษายะลาเขต 1 และรวบรวมข้อเสนอแนะในการพัฒนาเกี่ยวกับภาวะผู้นำทางเทคโนโลยีของผู้บริหารสถานศึกษา ตามทัศนะของครู สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษายะลาเขต 1 ในการวิจัยทำการศึกษาจากกลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ ครูสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษายะลา เขต 1 จำนวน 400 คน ซึ่งได้มาวิธี การสุ่มอย่างง่าย เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเป็นแบบสอบเกี่ยวกับภาวะผู้นำทางเทคโนโลยีของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา
การพัฒนาตัวบ่งชี้ภาวะผู้นำทางเทคโนโลยีสารสนเทศของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
- รับลิงก์
- X
- อีเมล
- แอปอื่นๆ
การพัฒนาตัวบ่งชี้ภาวะผู้นำทางเทคโนโลยีสารสนเทศของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน สท้าน วารี ( 2560 ).การพัฒนาตัวบ่งชี้ภาวะผู้นำทางเทคโนโลยีสารสนเทศของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน.วารสารมหาวิทยาลัยราชภัฏร้อยเอ็ด ปีที่ 11 ฉบับที่ 1 ,หน้า 121 – 129. บทคัดย่อ การวิจัยครั้งนี้มีความมุ่งหมายเพื่อพัฒนาตัวบ่งชี้และทดสอบความสอดคล้องของโมเดลโครงสร้าง ตัวบ่งชี้ภาวะผู้นำทางเทคโนโลยีสารสนเทศของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานคณะกรรมการ การศึกษาขั้นพื้นฐานกับข้อมูลเชิงประจักษ์ การดำเนินการวิจัย มี 3 ระยะ ประกอบด้วยระยะที่ 1 การกำหนดกรอบแนวคิดในการวิจัยโดยการสังเคราะห์เอกสารงานวิจัย และการสัมภาษณ์ผู้ทรงคุณวุฒิ จำนวน 9 คน ระยะที่ 2 การพัฒนาตัวบ่งชี้ โดยการสอบถามผู้เชี่ยวชาญ จำนวน 19 คน ด้วยเทคนิคเดลฟาย และระยะที่ 3 การตรวจสอบเพื่อยืนยันตัวบ่งชี้ภาวะผู้นำทางเทคโนโลยีสารสนเทศของผู้บริหารสถานศึกษา กับข้อมูล เชิงประจักษ์ โดยผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสาำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน จำนวน 520 คน ผลการวิจัย พบว่า 1) ตัว
การบริหารสถานศึกษาด้วยภาวะผู้นำทางเทคโนโลยี
- รับลิงก์
- X
- อีเมล
- แอปอื่นๆ
การบริหารสถานศึกษาด้วยภาวะผู้นำทางเทคโนโลยี สุนันทา สมใจ และ วิชุดา กิจธรธรรม (2561).การบริหารสถานศึกษาด้วยภาวะผู้นำทางเทคโนโลยี.วารสารวิทยาลัยดุสิตธานี ปีที่12ฉบับที่ 1 เดือนมกราคม-เมษายน 2561,หน้า 350 - 362. บทคัดย่อ บทความนี้ต้องการนาเสนอการบริหารสถานศึกษาด้วยภาวะผู้นำทางเทคโนโลยี (Technology Leadership)รวมถึงการเห็นประโยชน์ของเทคโนโลยีและนำเทคโนโลยีไปบูรณาการให้เข้ากับการจัดการศึกษาโดยเป็นส่วนหนึ่งของหลักสูตรการจัดการเรียนการสอน เพื่อขจัดปัญหาอุปสรรคได้อย่างมีประสิทธิภาพ และจัดการความเปลี่ยนแปลงทางการศึกษาให้ดียิ่งขึ้น ตลอดจนแนวทางในการพัฒนาภาวะผู้นำทางเทคโนโลยีของผู้บริหารเพื่อให้การบริหารงานมีประสิทธิภาพและมีประโยชน์สูงสุดต่อสถานศึกษา
การพัฒนาตัวบ่งชี้ภาวะผู้นำเชิงกลยุทธ์ของผู้บริหาร สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ
- รับลิงก์
- X
- อีเมล
- แอปอื่นๆ
ภาวะผู้นำของผู้บริหารโรงเรียนที่สัมพันธ์กับประสิทธิผลของโรงเรียนประถมศึกษา สังกัด สำนักงานคณะกรรมการการประถมศึกษาแห่งชาติ ในเขตการศึกษา
- รับลิงก์
- X
- อีเมล
- แอปอื่นๆ
ชื่อวิทยานิพนธ์ ภาวะผู้นำของผู้บริหารโรงเรียนที่สัมพันธ์กับประสิทธิผลของโรงเรียนประถมศึกษา สังกัด สำนักงานคณะกรรมการการประถมศึกษาแห่งชาติ ในเขตการศึกษา 12 Leadership of School Administrators Relating to the Effectiveness of Primary School under the Office of National Primary Education Commission in Educational Region 12 ชื่อนิสิต วันชัย นพรัตน์ Not Available ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษา รศ ดร วชิระ ชาวหา ผศ ดร ไพรัตน์ วงษ์นาม ชื่อสถาบัน มหาวิทยาลัยบูรพา. บัณฑิตวิทยาลัย Burapha University. Chonburi (Thailand). Graduate School. ระดับปริญญาและรายละเอียดสาขาวิชา วิทยานิพนธ์มหาบัณฑิต. การศึกษา (การบริหารการศึกษา) Master. Education (Education Administration) ปีที่จบการศึกษา 2539 บทคัดย่อ(ไทย) ~uความเป็นมา~u ในการจัดการดำเนินการของโรงเรียนประถมศึกษา สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการประถมศึกษา แห่งชาติ ในเขตการศึกษา 12 ปัจจัยที่จะส่งผลให้ประสิทธิผลของโรงเรียนประสบความสำเร็จก็คือ ผู้บริหารโรงเรียน ซึ่งจะต้องเป็นทั้งผู้นำด้านการบริหารโรงเรียน และด้านการจัดการเรียนการสอน พฤติกรรมของผู้นำจึงจำเป็นต้องคำนึงถึง
ภาวะผู้นำทางเทคโนโลยีของผู้บริหารสถานศึกษาที่ส่งผลต่อสมรรถนะด้านเทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษาของครู สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่ การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต 1
- รับลิงก์
- X
- อีเมล
- แอปอื่นๆ
ภาวะผู้นำทางเทคโนโลยีของผู้บริหารสถานศึกษาที่ส่งผลต่อสมรรถนะด้านเทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษาของครู สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่ การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต 1 Creator Name: ชนิดาภา กลีบทอง Subject keyword: ภาวะผู้นำทางเทคโนโลยี ; สมรรถนะด้านเทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษาข Description Abstract: บทคัดย่อ การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาระดับของภาวะผู้นำทางเทคโนโลยีของผู้บริหารสถานศึกษา 2) ศึกษาระดับสมรรถนะด้านเทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษาของครู และ3) วิเคราะห์ภาวะผู้นำทางเทคโนโลยีของผู้บริหารสถานศึกษาที่ส่งผลต่อสมรรถนะด้านเทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษาของครู สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต 1 กลุ่มตัวอย่าง คือ ข้าราชการครูในสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต 1 จำนวน 291 คน โดยใช้วิธีการสุ่มตัวอย่างแบบแบ่งชั้นตามสัดส่วนกระจายตามอำเภอ เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือแบบสอบถามที่สร้างขึ้นโดยผู้วิจัยมีค่าความตรงด้านเนื้อหาเท่ากับ 0.67-1.00 ค่าความเที่ยงของแบบสอบถามด้านภาวะผู้นำทางเทคโนโลยีของผู้บริหารของสถานศึกษา เท่ากับ 0.94
ภาวะผู้นำทางเทคโนโลยีและนวัตกรรมของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสุโขทัย เขต 2
- รับลิงก์
- X
- อีเมล
- แอปอื่นๆ
ภาวะผู้นำทางเทคโนโลยีและนวัตกรรมของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสุโขทัย เขต 2 Title Alternative Technology and innovation leadership of school administrators at Sukhothai Primary Education Service Area Office 2 Creator Name: ชัยนาม บุญนิตย์ Subject keyword: ภาวะผู้นำทางเทคโนโลยี ThaSH: ภาวะผู้นำทางการศึกษา Classification :.DDC: 371.2 ; ผู้บริหารสถานศึกษา ThaSH: ผู้บริหารสถานศึกษา -- ภาวะผู้นำ ThaSH: การศึกษาขั้นประถม -- การบริหาร Description Abstract: การวิจัยในครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาองค์ประกอบ ศึกษาสภาพปัจจุบัน และเปรียบเทียบโดยจำแนกตามการรับรู้ของครูและผู้บริหารสถานศึกษาของภาวะผู้นำทางเทคโนโลยีและนวัตกรรมของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสุโขทัย เขต 2 ประชากรที่ใช้การวิจัย คือ ผู้บริหารสถานศึกษาและครู รวม 162 โรงเรียน จำนวน 1,375 คน กลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ ผู้บริหารสถานศึกษา จำนวน 116 คน ได้จากการสุ่มอย่างง่าย และครูจำนวน 292 คน โดยวิธีการสุ่มแบบแบ่งชั้น รวมทั้งหมด 408 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจั